เกี่ยวกับ UNDV
การจัดประชุมชาวพุทธนานาชาติ เนื่องในวันวิสาขบูชาโลก
ประวัติความเป็นมา
ประวัติความเป็นมาของ การจัดประชุมชาวพุทธนานาชาติ เนื่องในวันวิสาขบูชาโลก
คณะกรรมการวิสาขบูชา นานาชาติ
International Council of the United Nations Day of Vesak
ผู้บริหาร สมาคมมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนานานาชาติ
International Association of Buddhist Universities
สำนักงาน
สำนักงาน สสวล. / สมพน.
โครงการ
หลักการและเหตุผล
คำประกาศปฎิญญากรุงเทพมหานคร
เนื่องในวันวิสาขบูชาโลก
 

ปาฐกถา เรื่อง :
การศึกษากับความเป็นพลเมืองโลก: มุมมองพระพุทธศาสนา
องค์ปาฐกถาพิเศษ
นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา
รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ


ผู้ร่วมเสวนา
Venerable Professor Mahinda Deegalle
Most Ven. Bhikkuni SHI RURUI
Jack Miller
Jamie Cresswell

Moderators
Venerable Assoc. Prof. Phra Sigambhirayan, Ph.D.
Venerable Phra Khammai Dhammasami
การเสวนาทางวิชาการเรื่อง :
พระสงฆ์กับการส่งเสริมการศึกษาและคุณค่าความเป็นมนุษย์
ผู้ร่วมเสวนา
Venerable Ashin Nyanissara
Venerable Seck Kwang Phing
Venerable Phramaha Anilaman Dhammasakiyo, Ph.D
SUAH KIM (Bhikkhuni Soun )
Prof. Chandima Wijebandara

Moderators
Venerable Dr. Tampalawela Dhammaratana
Phra Rajavaramuni
 

สาส์นจาก สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก
ประธานกรรมการมหาเถรสมาคม


สารจาก อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประธานสมาคมมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนานานาชาติ ประธานสมาคมสภาสากลวันวิสาขบูชาโลก
พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต ป.ธ.๙,Ph.D)
ศาสตราจารย์,ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์,เจ้าคณะภาค ๒
อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย


สารจากเลขาธิการสหประชาชาติ
บัน คิ-มูน


สารจากผู้อำนวยการทั่วไป องค์การร่วมมือทางการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมระหว่างประเทศ (ยูเนสโก้)
มิส ไอรีน่า โบโคว่า


สารจากประธานองคมนตรี แห่งราชอาณาจักรไทย
พลเอก เปรม ติณสูลานนท์
สารจากนายกรัฐมนตรี แห่งราชอาณาจักรไทย
นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร


สารจากนายกรัฐมนตรีออสเตรีย
จูเลีย ไอลีน กิลลาร์ด


สารจากนายกรัฐมนตรีบังคลาเทศ
ชีค ฮาสินา


สารจากมหาเถรสมาคม


สารจากคณะรัฐมนตรี


สารจากสถานทูตและสถานกงสุลต่างประเทศในประเทศไทย


สารจากบุคคลสำคัญ


สารจากหน่วยงาน องค์กร ต่างๆ
 

องค์การสหประชาชาติ (UN)
Information
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (มจร)
พุทธมณฑล
โรงแรม & สิ่งอำนวยความสะดวก
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
(วัดพระแก้ว)
พระนครศรีอยุธยา เมืองมรดกโลก

ข่าวสารถึงอาสาสมัคร
เนื่องในวันวิสาขบูชาโลก ๒๑ - ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๖
ตำแหน่งที่ต้องการ
Do you have what it takes to be a Vesak Day Celebration Volunteer?
ร่วมสมัครเป็นอาสาสมัคร
Once in a lifetime Opportunity
คำถาม คำตอบ
Frequently Asked Questions About Vesak Day Celebration Volunteer
นโยบายของอาสาสมัคร
Policy on volunteering
 

สัญญาณถ่ายทอดสด
เนื่องในวันวิสาขบูชาโลก ๒๑ - ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๖
วิดิทัศน์
ภาพวิดิทัศน์เหตุการณ์สำคัญ
เอกสารเผยแพร่งาน
รวบรวมเอกสาร ประจำปี ๒๕๕๖
รูปภาพ
เนื่องในวันวิสาขบูชาโลก ๒๑ - ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๖
ข้อมูลรูปภาพ
สำหรับนำไปทำสิ่งพิมพ์
หนังสือ
Download หนังสือเนื่องในวันวิสาขบูชาโลก
เพลง
นิทรรศการ
หลักการและเหตุผล
 


พระประวัติ
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (สุวัฑฒนมหาเถระ เจริญ คชวัตร)
วีดีทัศน์เสนอพระประวัติ และงานฉลองพระชันษา
๒๕๕๖ ปีมหามงคล พระชันษาครบ ครบ ๑๐๐ ปี
วันที่ ๓ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๕๖
การเสวนาทางวิชาการเรื่อง :
พระสงฆ์กับการส่งเสริมการศึกษาและคุณค่าความเป็นมนุษย์
หนังสือและเอกสาร
๒๕๕๖ ปีมหามงคล พระชันษาครบ ๑๐๐ ปี สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
วันที่ ๓ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๕๖
 
Bangkok Declaration

  เกี่ยวกับ UNDV
การจัดประชุมชาวพุทธนานาชาติ เนื่องในวันวิสาขบูชาโลก
ประวัติความเป็นมา
ประวัติความเป็นมาของ การจัดประชุมชาวพุทธนานาชาติ เนื่องในวันวิสาขบูชาโลก
คณะกรรมการวิสาขบูชา นานาชาติ
International Council of the United Nations Day of Vesak
ผู้บริหาร สมาคมมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนานานาชาติ
International Association of Buddhist Universities
สำนักงาน
สำนักงาน สสวล. / สมพน.
โครงการ
หลักการและเหตุผล
คำประกาศปฎิญญากรุงเทพมหานคร
เนื่องในวันวิสาขบูชาโลก
     



ปฏิญญากรุงเทพฯ ๒๕๕๕ การประชุมชาวพุทธนานาชาติ ครั้งที่ ๙ เนื่องในวันวิสาขบูชา วันสำคัญสากลของโลก พุทธชยันตี ฉลอง ๒๖๐๐ ปีแห่งการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า

ระหว่างวันที่ ๓๑ พฤษภาคม – ๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๕
ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ศูนย์การประชุมสหประชาชาติ กรุงเทพฯ และ พุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม


เมื่อวันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๒ ผู้แทน ๓๔ ประเทศได้เสนอต่อที่ประชุมสมัชชา สหประชาชาติให้วันวิสาขบูชา ซึ่งตรงกับวันเพ็ญเดือนพฤษภาคม เป็นวันสำคัญสากลของโลก และขอให้มีการจัดงานฉลองที่สำนักงานใหญ่องค์การสหประชาชาติและสำนักงานประจำ ภูมิภาคต่างๆ ที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติได้มีมติรับรองตามนั้น (ในสมัยที่ ๕๔ วาระที่ ๑๗๔) ดังนั้น วันวิสาขบูชา วันสำคัญสากลของโลก จึงได้ก่อกำเนิดขึ้นในปี ๒๕๔๓ ด้วยความ ร่วมมือของชาวพุทธทุกนิกาย

เพื่ออนุวัตรตามมติที่ประชุมสหประชาชาติ พวกเราจาก ๘๕ ประเทศและภูมิภาค จึง ได้เดินทางมาร่วมงานพุทธชยันตี ฉลอง ๒๖๐๐ ปีแห่งการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ถวายพระพร แด่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา และ แด่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราสฯ สยามมกุฏราชกุมาร ในวโรกาสเฉลิมพระชนมายุ ๖๐ พรรษา พร้อมกับเข้าร่วมประชุมสมาคมมหาวิทยาลัยทางพระพุทธศาสนานานาชาติ ครัง้ ที่ ๒ ระหว่าง วันที่ ๓๑ พฤษภาคม – ๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๕ โดยมีเจ้าภาพหลักคือ มหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ซึ่งรัฐบาลไทยให้การสนับสนุนอย่างเต็มที่ โดยความเห็นชอบของ มหาเถรสมาคมแห่งประเทศไทย

ในการประชุมที่มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อำเภอวังน้อย จังหวัด พระนครศรีอยุธยา และศูนย์การประชุมสหประชาชาติ กรุงเทพฯ และพุทธมณฑล จังหวัด นครปฐม ที่ประชุมได้พิจารณาตามหัวข้อการประชุมหลักว่าด้วยเรื่อง "พระปญั ญาตรัสรู้ของ พระพุทธเจ้าเพื่อประโยชน์สุขของมวลมนุษยชาติ" อันเป็นการส่งเสริมความเข้าใจและความ ร่วมมือร่วมกัน ระหว่างองค์กรและปจั เจกบุคคลต่างๆ จากพระพุทธศาสนาทุกนิกาย และที่ ประชุม ได้สรุปมติเป็นเอกฉันท์ ดังต่อไปนี้

๑.ด้วยตระหนักว่า การตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าและคำสัง่ สอนของพระองค์เมื่อ ๒๖๐๐ ปีที่ผ่านมา มีผลกระทบอย่างลึกซึ้งต่อมนุษยชาติทัว่ ทัง้ โลก ในการปรับเปลี่ยนชีวิตมนุษย์ พวก เราจึงเพียรพยายามอย่างไม่หยุดหย่อน ในการปฏิบัติตามหลักอริยมรรคมีองค์แปด และเผยแผ่ หลักคำสอนเรื่องสันติภาพแก่ชาวโลก

๒.ด้วยตระหนักว่า ความขัดแย้งในโลกมีความซับซ้อนหลายมิติ คือมิติทางด้าน บทบาททางสังคม มิติทางด้านปฏิสัมพันธ์แห่งความรับผิดชอบทางด้านสังคม และมิติทางด้าน การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ พวกเราจึงเรียกร้องให้ทุกรัฐบาลทัว่ โลกเป็นนักปฏิบัติจริง และ ส่งเสริมการอภัยกัน โดยช่วยกันให้ยุติความขัดแย้งทางสังคมและการเมืองในโลก โดยเฉพาะ อย่างยิ่งชาวพุทธโลกต้องนำเอาการส่งเสริมเรื่องสันติภาพและความปรองดองกันไปใช้ทัว่ โลก โดยประยุกต์ใช้คำสัง่ สอนในพระพุทธศาสนาเรื่องการให้อภัย อหิงสา กรุณาและขันติธรรมอย่าง ชาญฉลาด และทำงานอย่างไม่เหน็ดเหนื่อยควบคุมธรรมชาติของมนุษย์ที่มีความต้องการไม่ สิ้นสุด, มีความเกลียดชังกันและความไม่รู้ เพื่อสร้างสังคมที่บูชาคุณค่าของมนุษย์

๓.ด้วยตระหนักถึงการเพิ่มขึ้นอย่างไม่เคยมีมาก่อนของอุบัติภัยด้านสิ่งแวดล้อมใน โลก พวกเราจึงส่งเสริมให้ตระหนักรู้ถึงการพึ่งพากันระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทาง ธรรมชาติตามหลักปฏิจจสมุปบาทให้มากยิ่งขึ้น

๔.เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนชีวิตมนุษย์ในสังคม ทัง้ ทางด้านจิตใจ จริยธรรม และ สติปญั ญา พวกเราจึงส่งเสริมให้มีการปฏิบัติกัมมัฏฐาน ซึ่งพระพุทธศาสนาทุกนิกายได้อนุรักษ์ สืบทอดมาอย่างหลากหลาย

๕. เพื่อเป็นอนุสรณ์แห่งพุทธชยันตี ๒๖๐๐ ปีแห่งการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า และให้ การสนับสนุนอย่างเป็นเอกฉันท์ ในการตัง้ ศูนย์กลางพระพุทธศาสนาโลก พวกเราจึงรับรองและ ยินดีต่อผลสำเร็จของการประชุมโต๊ะกลม ซึ่งมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและ สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติร่วมกันจัดขึ้น เมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๕ ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และให้ ดำเนินการตามมติในการก่อตัง้ ศูนย์กลางพระพุทธศาสนาโลกซึ่งมีวัตถุประสงค์สำคัญ คือสร้าง เครือข่ายที่มีประสิทธิภาพสำหรับชาวพุทธโลก ณ พุทธมณฑลให้เป็นจริงขึ้นมา พวกเราจึง บันทึกว่าได้ร่วมกันประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ เพื่อสร้างอาคารของศูนย์กลางพระพุทธศาสนา โลกขึ้น

๖. ด้วยตระหนักถึงความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด ระหว่างสภาสากลวันวิสาขบูชาโลก กับสมาคมมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนานานาชาติ พวกเราจึงยินดีต่อการบรรลุผลตาม วัตถุประสงค์ของการประชุมใหญ่ครัง้ ที่ ๒ ของสมาคมมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนานานาชาติ ที่ใช้หัวข้อการประชุมว่าด้วยพุทธปรัชญาและแนวทางการปฏิบัติ โดยอาศัยกระบวนการของ การปรึกษา การอภิปราย และความร่วมมือกันทางด้านวิชาการ

๗.พวกเราจะธำรงรักษาและส่งเสริมความก้าวหน้าของโครงการสำคัญ ๒ โครงการ เนื่องในวันวิสาขบูชา วันสำคัญของโลก คือโครงการพระไตรปิฎกฉบับสากล และโครงการ จัดทำสหบรรณานุกรมตำราทางพระพุทธศาสนา

๘.พวกเราขอยกย่องความร่วมมือกันขององค์การยูเนสโก รัฐบาลประเทศเนปาล ภาคธุรกิจ และองค์กรเอกชนต่างๆ ในการเสนอมาตรการให้มีการสอดส่องดูแล และลดมลภาวะ ทางอากาศ ณ ลุมพินีสถานที่ประสูติของพระพุทธเจ้า และแหล่งมรดกโลกที่ได้รับการขึ้น ทะเบียนแล้ว

ปฏิญญาการประชุมชาวพุทธนานาชาติ ครัง้ ที่ ๙
ประกาศ ณ วันที่ ๒ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๕