เกี่ยวกับ UNDV
การจัดประชุมชาวพุทธนานาชาติ เนื่องในวันวิสาขบูชาโลก
ประวัติความเป็นมา
ประวัติความเป็นมาของ การจัดประชุมชาวพุทธนานาชาติ เนื่องในวันวิสาขบูชาโลก
ผู้บริหาร สสวล.
International Council of the United Nations Day of Vesak
ผู้บริหาร สมพน.
International Association of Buddhist Universities
สำนักงาน
สำนักงาน สสวล. / สมพน.
โครงการ
คำประกาศปฎิญญากรุงเทพมหานคร
ความหมายของตราสัญญลักษณ์
เนื่องในโอกาสเฉลิมฉลอง พุทธชยันตี : ๒๖๐๐ ปี แห่งการตรัสรู้ขององค์พระพุทธเจ้า

องค์ปาฐกถาพิเศษ
พระภาวนาวิเทศ (หลวงพ่อเขมธัมโม)
วัดป่าสันติธรรม เมืองวอริค
มณฑลวอริคเชียร์ ประเทศอังกฤษ


Guest Speaker
Ven Sheng Kai
ดร. อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา
Symposium Speakers
Rev.Noriaki Kunitomo
ศาสตราจารย์วันชัย วัฒนศัพท์
Prof. Kamaleswar Bhattacharya
Dr. Phil Tan
Prof. Dr. Donald K Swearer
ดร. ตัม ดึ๊ก
  ดร.จำนงค์ อดิวัฒนสิทธิ์
Prof. Dr. Keown
พระหยวน ฉี
ศาสตราจารย์ ดร. พระคำหมาย ธัมมสามิ
ศาสตราจารย์สุมานะปาละ กัลมานโกฏะ
Dr Sarah Shaw

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (มจร)
แผนผัง มจร
แผนผัง ห้องประชุมและสถานที่จัดงานใน มจร
องค์การสหประชาชาติ (UN)
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
(วัดพระแก้ว)
พุทธมณฑล
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
อยุธยา เมืองมรดกโลก
การบินไทย
โรงแรม & สิ่งอำนวยความสะดวก
Maps of Venues

ข่าวสารถึงอาสาสมัคร
ตำแหน่งที่ต้องการ
ร่วมสมัครเป็นอาสาสมัคร
คำถาม คำตอบ
นโยบายของอาสาสมัคร

สัญญาณถ่ายทอดสด
Press Released
วิดิทัศน์
รูปภาพ
ข้อมูลรูปภาพ
หนังสือ
เพลง
นิทรรศการ
Cultural Show

ข้อมูลคณะทำงาน
Story of each Vesak Celebrations
การเสวนาทางวิชาการ / วิทยากร
History of UN Day of Vesak Celebrations
กำหนดการ
INTERNATIONAL COUNCIL OF UNITED DAYS OF VESAK Executive Council Meeting of ICUNDV
บทความวิชาการ
The International Association of Buddhist
สถานที่จัดกิจกรรม
Officers and Location
ข่าวสาร
The 84th Birthday Anniversary of His Majestythe King & International Celebration on the Occasion of United Nations Day


Symposium Speakers

Click to Share this Article
องค์ปาฐกถาพิเศษ
พระภาวนาวิเทศ (หลวงพ่อเขมธัมโม)
วัดป่าสันติธรรม เมืองวอริค
มณฑลวอริคเชียร์ ประเทศอังกฤษ

Guest Speaker
Ven Sheng Kai
ดร. อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา

Symposium Speakers
Rev.Noriaki Kunitomo
ศาสตราจารย์วันชัย วัฒนศัพท์
Prof. Kamaleswar Bhattacharya
Dr. Phil Tan
Prof. Dr. Donald K Swearer
ดร. ตัม ดึ๊ก
Prof. Dr. Chamnong Adivadhanasit
Prof. Dr. Keown
พระหยวน ฉี
ศาสตราจารย์ ดร. พระคำหมาย ธัมมสามิ
ศาสตราจารย์สุมานะปาละ กัลมานโกฏะ
Dr Sarah Shaw





Symposium Speakers


For iPhone/iPad user: If you can't see all of this short bio's text, please use your two fingers to scroll inside this text area.

SHORT BIOGRAPHY   
Rev.Noriaki Kunitomo

Name : Rev. Noriaki Kunitomo's

Email Address : youmeiin@kyoto.zaq.jp

Current Position : The Head Priest of Youmei-in temple

The Head priest of Tenryu-ji temple first branch

President of World Zen Buddhist Association

Board of Director, Saga Buddhist Party

Rinzai-Zen Missionary monk

Education : March 1977
Guraduate Nihon University College of Art Work in Japan as Personal Manager

September 1979 - May 1981
Academy Art University at Sa Francisco(USA)

September 1981- March 1987
Work in USA as Art Director (Advertising Agency)

April 1987- September 1989
Training Zen Special School in Zuigan-ji Temple

September 1989 -January 2003
2 Company opened in USA also continue the space design and Zen Traning

January 2003 - Now
Design the Zuingan-ji temple (Residential quarter), Dental office, Restaurant etc

The Head priest of Youmei-in temple, Head priest of Tenryu-ji temple first branch , Missionary work at Japan and Nation.

Rev.Noriaki Kunitomo


For iPhone/iPad user: If you can't see all of this short bio's text, please use your two fingers to scroll inside this text area.

SHORT BIOGRAPHY   
Prof Vanchai Vatanasapt

NAME: Professor Vanchai Vatanasapt., M.D., ONZM.

POSITION TITLE:
Director of the Courses on Conflict Resolution and Mediation of King Prajadhipok's Institute, Expert Member of the Administrative Committee of the National Research Council of Thailand. Former President of Khon Kaen University. Involved in the Conflict Resolution process and training such as Mediation, Reconciliation and Deliberation in several communities dispute, Environmental and Industry Dispute, University Dispute, Business Dispute, Health care dispute.

Brief Presentation on the Panel Discussion:
The Wisdom of Buddha in the Reconciliation are in many of teaching documents. The important one is the four Noble Truths. Reconciliation in the Thai Society need more than just complaining but to find the Peaceful way and it must start from "Right View" and "Right Thought".


Prof Vanchai Vatanasapt


For iPhone/iPad user: If you can't see all of this short bio's text, please use your two fingers to scroll inside this text area.

SHORT BIOGRAPHY   
Prof. Kamaleswar Bhattacharya

Name :Prof. Kamaleswar Bhattacharya

Email Address : kamaleswar@hotmail.com

Current Position : retired University professor of Sanskrit

Education : Docteur és Lettres (DLitt)

Buddhist Projects/Experiences :
has taught Buddhism and written scholarly books and articles on different aspects of Buddhism


Prof. Kamaleswar Bhattacharya



For iPhone/iPad user: If you can't see all of this short bio's text, please use your two fingers to scroll inside this text area.

SHORT BIOGRAPHY   
Dr. Phil Tan

Name : Dr. Phil Tan

Email Address : ptan@csulb.edu

Education : Phil Tan received his Ph.D. in Social Work from The Ohio State University and has been on faculty at California State University, Long Beach since 2001. He teaches Human Development and Research classes, and a course entitled Spirituality and Social Work Practice.

Buddhist Projects/Experiences : Phil currently leads a book/mediation club for social workers that focuses on readings pertaining to the "Art of Happiness at Work". He is also writing a manuscript on the use of the "Native American Talking Circle" as a resource to listen, learn, and teach about spiritual diversity.

Dr. Phil Tan


For iPhone/iPad user: If you can't see all of this short bio's text, please use your two fingers to scroll inside this text area.

SHORT BIOGRAPHY   
Prof. Dr. Donald K Swearer

Name : Donald K. Swearer

Email Address : dswearer@hds.harvard.edu

Current Position : Distinguished Visiting Fellow Center for the Study of World Religions, Harvard Divinity School

Education :
Princeton University, Ph.D., 1967; M.A., 1965; A.B., 1956
Yale University Divinity School, S.T.M., 1963; B.D., 1962

Buddhist Projects/Experiences :
Distinguished Visiting Professor of Buddhism, Harvard Divinity School, 2004-2010

Editorial positions:
Consulting Editor, Buddhist-Christian Studies, 1981-present.
Editorial Board, Curzon Press, Critical Studies in Buddhism, 2000-present
Advisory Board, The Chulalongkorn Journal of Buddhist Studies, 2002-present
Regional Associate Editor, World Fellowship of Buddhists Review, 2003-present
Advisory Board, Journal of the World Buddhist University, 2006-present


Prof. Dr. Donald K Swearer


For iPhone/iPad user: If you can't see all of this short bio's text, please use your two fingers to scroll inside this text area.

SHORT BIOGRAPHY   
Dr Thich Tam-Duc

His Buddhist name THICH TAM DUC, passport name NGUYEN XUAN KINH, born on June 07, 1953 in Thûa Thiên, Vietnam. In Vietnam he completed his high school in 1972, B.A. in Buddhist Studies in 1988 and M.A. in History in 1991.

Then in Delhi University, India he completed his M.A. in Buddhist Studies in 1993, Ph. D. in Buddhist Studies in 1997 with the thesis "Thien of Vietnamese Buddhism under the Tran Dynasty", Diploma in Pali language in 1998, Diploma in Chinese Language in 1998, and Ph.D. in Philosophy in 2003 with the thesis "Philosophy of the Saddharmapundarika-sutra".

After returning back to Vietnam in 2003 he is now a member of The Dharma Executive Council, Vietnam Buddhist Sangha, Vice Rector of Vietnam Buddhist Research Institute and Vice Rector & Lecturer of Vietnam Buddhist University in Hochiminh City. In Vietnam he has a number of writings in magazines, electronic newspapers or in worshops and conferences.

He has attended International Conferences since 2004 in India, Taiwan, Thailand, Vietnam, New Zealand, Australia, and the Philippines.

Especially, he is invited by the United Nations to speak at the UN Headquarters in New York, USA on the occasion of Vesak 2011 on May 16, 2011 with the paper "Conflict and Illusions".

He published the book "Buddhist Solutions" in Hanoi, 2008. And another book "The Ekayana Philosophy of the Saddharmapundarika-sutra" is being published by him in Delhi, India, this year 2012.


Dr Thich Tam-Duc


For iPhone/iPad user: If you can't see all of this short bio's text, please use your two fingers to scroll inside this text area.

SHORT BIOGRAPHY   
Prof. Dr. Chamnong Adivadhanasit

การศึกษา
Ph.D. (Sociology) University of Madras , South India.(2520)
M.A. (Social Sciences) University of Madras , South India.(2516)
M.A. (English) University of Mysore , South India.(2518)
ปริญญาตรี (พุทธศาสตรบัณฑิต)
พธ,บ, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (2541)

ประวัติการรับราชการ
2522 : อาจารย์ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์
2524 : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์
2529 : รองศาสตราจารย์ ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์
2546 : ศาสตราจารย์ ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์

ผลงานทางวิชาการ
งานตำรา
1. สังคมวิทยาเบื้องต้น
2. ประวัติแนวความคิดทางสังคม
3.สังคมวิทยาศาสนา
4. สังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร์
5. สิ่งแวดล้อมเทคโนโลยีและชีวิต (แต่งร่วม)
6.ศาสนา ชีวิต และสังคม

สารนิพนธ์ทั่วไปที่พิมพ์เผยแพร่
1.วจนะมหาตมคานธี
2.วจนะขงจื้อ
3.จรรยาสุภาพชน
4.เพื่อนใจ เป้าหมายชีวิต

งานบทความทางวิชาการ
1.การพัฒนาจริยธรรม
2,ศาสนากับสังคมไทย
3.พลังสังคมกับการพัฒนาการทฤษฎีทางสังคมวิทยา
4.รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
5.ภาวการณ์วิจัยในสังคมที่แปรเปลี่ยน
6.สื่อสารมวลชนกับวิกฤติศรัทธาในพระพุทธศาสนา
7.การสำรวจข้อมูลการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
8.การพัฒนาขีดสมรรถนะการกำกับดูแลองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ของส่วนกลาง และภูมิภาค
9.ระบบการพัฒนาสังคมที่นำไปสู่ความมั่นคงของมนุษย์
10.สื่อสารมวลชนกับความมั่นคงแห่งพระพุทธศาสนา

ประสบการณ์ทางวิชาการ

4.1 อาจารย์พิเศษและผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาผลงานทางวิชาการ อาจารย์ผู้บรรยายพิเศษและผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาผลงานทางวิชาการ มหาวิทยาลัยของรัฐ และมหาวิทยาลัยของเอกชนหลายแห่ง เช่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นมหาวิทยาลัยรามคำแหง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏทุกแห่ง มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เป็นต้น

4.2 ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความวิชาการ วารสารเกษตรศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วารสารสงขลานครินทร์ วารสารสสังคมศาสตร์ - มนุษยศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วารสารมนุษยศาสตร์คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ฯลฯ

4.3 ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณา รายงานผลการวิจัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ฯลฯ

ตำแหน่งหน้าที่การงานในอดีต
5.1 กรรมการวิจัยแห่งชาติ สาขาสังคมวิทยา
5.2 ผู้ช่วยเลขาธิการยุวพุทธิกสมาคมแห่งโลก
5.3 รักษาการหัวหน้าภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
5.4 ประธานร่างหลักสูตรและประธานบริหารโครงการปริญญาโท สาขาวิชาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
5.5 ประธานร่างหลักสูตรและประธานบริหารโครงการปริญญาโท สาขาวิชาพัฒนสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ตำแหน่งหน้าที่การงานในปัจจุบัน
6.1 ศาสตราจารย์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ข้าราชการบำนาญ)
6.2 ที่ปรึกษาอธิการบดีด้านกิจการต่างประเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย


Prof. Dr. Chamnong Adivadhanasit


For iPhone/iPad user: If you can't see all of this short bio's text, please use your two fingers to scroll inside this text area.

SHORT BIOGRAPHY   
Professor Damien Keown

Professor Damien Keown

Education : Damien Keown took a BA degree in Religious Studies at Lancaster University before completing a doctoral thesis at the Oriental Institute, Oxford in 1986.

Buddhist Projects/Experiences : Damien Keown is Emeritus Professor of Buddhist Ethics at Goldsmiths College, University of London, UK. His main research interests are theoretical and applied aspects of Buddhist ethics, with particular reference to contemporary issues. He is the author of many books and articles and in 1994 he founded The Journal of Budddhist Ethics with Charles S. Prebish, with whom he also co-founded the Routledge Critical Studies in Buddhism Series, and co-edited the Routledge Encyclopedia of Buddhism


Professor Damien Keown


For iPhone/iPad user: If you can't see all of this short bio's text, please use your two fingers to scroll inside this text area.

SHORT BIOGRAPHY   
Ven. Dr. Yuan Ci

Name : Ven. Dr. Yuan Ci

Email Address : padumaci@gmail.com

Current Position : Research Fellow, Member of the Standing Committee of the Buddhist Association of China

Vice-Rector, Lingyanshan Buddhist College, China

Dharma Master, the Buddhist Association of China,

Member of Buddhist research Fellow at the Institute For Buddhist Cultural Studies of China

Education : SOAS, the University of London, UK

PhD Program; Awarded Doctor Degree in Philosophy.

Buddhist Projects/Experiences : The Bodhisattva Ideal In Selected Buddhist Scriptures, Religious Publish House, Beijing , 2010

The Concept of the Buddha in Theravada and Mahayana, Buddhist Studies, Journal of the Research Institute of Buddhist Culture of Chian, 2007

A Study on Bukong's Verson of Sanskrit prajnaparamitahrdaya sutram on the Liao Buddha's Pagoda, Buddhist Studies, Journal of the Research Institute of Buddhist Culture of Chian, 2008

A Study on the Paramitas and the Bodhisattva, Buddhist Studies, Journal of the Research Institute of Buddhist Culture of Chian, 2009

A Study on Venerable Fa-xian 's Contributions to Buddhism, Buddhist Studies, Journal of the Research Institute of Buddhist Culture of Chian, 2010

A Study on the Methods of medition in the Chinese Texts, Buddhist Studes, Journal of the National Buddhist Academy of China, 2011


Ven. Dr. Yuan Ci


For iPhone/iPad user: If you can't see all of this short bio's text, please use your two fingers to scroll inside this text area.

SHORT BIOGRAPHY   
ศาสตราจารย์ ดร. พระคำหมาย ธัมมสามิ


ผู้ก่อตั้ง และเจ้าอาวาส วัดพุทธวิหารออกซฟอร์ด เมือง Oxford สหราชอาณาจักร
อาจารย์ประจำ University of Oxford และอาจารย์พิเศษ SOAS University of London
ผู้นำก่อตั้งและเลขาธิการ สมาคมมหาวิทยาลัยพุทธศาสนานานาชาติ และสมาคมมหาวิทยาลัยพุทธศาสนาเถรวาท
อดีต เลขาธิการ จัดงานวันวิสาขบูชาโลก แห่งประเทศไทย ปี ๒๕๔๙ - ๒๕๕๐, ๒๕๕๒
ผู้แปล พระนิพนธ์ เรื่อง "จิตนคร" "Mind-City: The Capital of the World" สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก

ศาสตราจารย์ ดร. พระอาจารย์ คำหมาย ธัมมสามิ เป็นชาวไทใหญ่โดยกำเนิดและท่านเป็นพระสงฆ์รูปที่สอง ของสายเถรวาทที่จบการศึกษาระดับปริญญาเอก จากมหาวิทยาลัย Oxford ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำของโลก ท่านเป็นพระสงฆ์ที่เปี่ยมด้วยความรู้ความสามารถทางปริยัติและปฏิบัติและมีประสบการณ์ในการทำงานในองค์กรระหว่างประเทศมาเป็นเวลาหลายสิบปี ซึ่งเป็นที่ประจักษ์ได้จากผลงานของท่านในการริเริ่มเชิญชวนนักวิชาการทางพระพุทธศาสนาจากสถาบันการศึกษาที่มีชื่อเสียงต่าง ๆ ของโลกมาร่วมกันทำงานเพื่อเผยแพร่คำสอนทางพระพุทธศานาให้แก่ชาวโลก นอกจากนั้นท่านยังได้เป็นผู้นำในการจัดตั้ง องค์กรมหาวิทยาลัยทางพุทธศาสนา โดยได้เชิญชวนผู้บริหารระดับสูงของ มหาวิทยาลัย วิทยาลัย สถาบันการศึกษา ชาวพุทธชาติต่าง ๆ ทั่วโลก มาร่วมกันจัดตั้งเป็นสมาคมมหาวิทยาลัยพุทธศาสนา เพื่อให้เกิดความร่วมมือกันในด้านต่าง ๆ จนเป็นผลสำเร็จ ในนาม "สมาคมมหาวิทยาลัยพุทธศาสนานานาชาติ" "The International Association of Buddhist Universities" และ" สมาคมมหาวิทยาลัยพุทธศาสนาเถรวาท" "The Association of Theravada Buddhist Universities"เป็นต้น

การศึกษา
ศึกษาขั้นพื้นฐานที่บ้านเกิด แล้วได้เดินทางไปศึกษาต่อที่ สถาบันการศึกษาพระปริยัติธรรม ชั้นสูงของคณะสงฆ์ไทใหญ่ ที่เมืองปางโหลง ซึ่งเป็นเมืองสำคัญทางประวัติศาสตร์ของชาวไทใหญ่ เพราะเป็นสถานที่ ในการลงนามในสนธิสัญญาระหว่างชนกลุ่มต่าง ๆ ในสหพันธุ์รัฐฉานร่วมกับพม่าที่เรียกกันว่า "สนธิสัญญาเวียงปางโหลง ค.ศ. 1947 " ต่อมาจึงได้กลายมาเป็น "สหภาพพม่า" ที่รู้จักกันในปัจจุบัน

พ.ศ. ๒๕๒๘ สำเร็จการศึกษา ชั้นธรรมาจริยะ(ขณะเป็นสามเณร) เทียบเท่าปริญญาตรี พุทธศาสตร์บัณฑิต ที่ Sasana Mandaing Pali University, เมือง Pegu (เมืองหงษ์สาวดี) รัฐมอญ และชั้นธรรมาจาริยะ ภาคภาษาไทใหญ่ ที่สถาบันการศึกษาชั้นสูง ของคณะสงฆ์ไทใหญ่ ที่ เมืองปางโหลงในปีเดียวกัน

พ.ศ. ๒๕๓๕ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาพุทธศาสตร์ ที่ Buddhist and Pali University of Sri Lanka, กรุง Colombo ประเทศศรีลังกา

พ.ศ. ๒๕๓๖ สำเร็จการศึกษา ปริญญาโทใบที่สองในสาขาเดียวกันจากPostgraduate Institute of Pali and Buddhist studies, University of Kelaniya ประเทศศรีลังกา

พ.ศ. ๒๕๓๙ สำเร็จการศึกษาระดับ MPhil จาก Postgraduate Institute of Pali and Buddhist studies, University of Kelaniya, Sri Lanka ประเทศศรีลังกา

พ.ศ.๒๕๒๗ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก (DPhil) จาก St. Anne's College, University of Oxford สหราชอาณาจักรโดยมีท่านศาสตราจารย์Richard Gombrich นักวิชาการทางด้านพระพุทธศาสนาและภาษาสันสกฤตระดับแนวหน้าของโลก เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา

ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. ๒๕๔๕ ธันวาคม เสนอผลงานทางวิชการ เรื่อง " The Sangha in Burma and Thailand 1826 – 1880: A review of factors Leading to the emergence of contemporary nikayas" ที่ประชุมทางวิชการครั้งที่ 13 สมาคมศึกษาพระพุทธศาสนานานาชาติ (IABS) ที่มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์ ประเทศไทย

พ.ศ. ๒๕๔๖ มีนาคม เสนอผลงานทางวิชาการ เรื่อง " Ecclesiastical Examinations: Their origin and impact on the Sangha in Burma and Thailand" ที่สมาคมเอเชียศึกษา (USA) New York สหรัฐอเมริกา

พ.ศ. ๒๕๔๖ พฤษภาคม เสนอผลงานทางวิชาการ เรื่อง "Secularising the Monasteries: The Role of Formal Examinations in Ecclesiastical Pedagogy in Burma and Thailand" ที่ประชุมทางวิชาการ Sanskrit Tradition in the Modern World Conference ที่ Newcastle University สหราชอาณาจักร

พ.ศ. ๒๕๔๖ กรกฏาคม เสนอผลงานทางวิชาการ เรื่อง "Swimming against the Tide: A brief introduction to the life and thought of two leading monastic education-nists in Burma and Thailand" ที่ประชุมทางวิชาการประจำปี สมาคมศึกษาพระพุทธศานาแห่ง สหราชอาณาจักร (The UK Association of Buddhist Studies, UKABS) ที่ SOAS, University of London สหราชอาณาจักร

พ.ศ. ๒๕๔๗ พฤษภาคม เสนอผลงานทางวิชาการ เรื่อง "Idealism and Pragmatism: A Dilemma in the Current Monastic Education Systems of Burma and Thailand" ที่ Conference on Burmese Buddhism and the Spirit Cult Revisited ที่ Stanford University ประเทศสหรัฐ อเมริกา

พ.ศ. ๒๕๔๘ กรกฏาคม เสนอผลงานทางวิชาการ เรื่อง " The Shan Buddhist literature: A Preliminary Study of its Source" ที่ประชุมทางวิชาการ สมาคมศึกษาพระพุทธศาสนานานาชาติ (International Association of Buddhist Studies Conference) ที่ มหาวิทยาลัย SOAS, University of London

พ.ศ. ๒๕๕๐ เมษายน เสนอผลงานทางวิชาการ เรื่อง " Seeing myself as another person; The autobiography of a Burmese monastic thinker of the 20th century" ที่ประชุมทางวิชาการ ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด (The Oxford Center for Buddhist Studies)ที่ Balliol College, Oxford University

พ.ศ. ๒๕๕๐ กรกฏาคม เสนอผลงานทางวิชาการ เรื่อง " Opportunities and challenges in Buddhist institutions of higher education in the world" ที่ประชุมประจำปีของ สมาคมศึกษาพุทธศาสนาแห่งสหราชอาณาจักร (United Kingdom of Association for Buddhist Studies) ที่ St. Anne's College, Oxford University

พ.ศ ๒๕๕๐ ธันวาคม เสนอผลงานทางวิชาการ เรื่อง "Growing but as a sideline: An overview of modern Shan monastic education" ในการประชุมทางวิชาการพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมไทใหญ่ (Shan Buddhism and Culture Conference) ที่มหาวิทยาลัย SOAS, University of London สหราชอาณาจักร

พ.ศ. ๒๕๕๑ กุมภาพันธ์ เสนอผลงานทางวิชาการ เรื่อง " The uncomfor-table relationship between the Sangha and the State in Myanmar in the 17th to 19th Centuries) ที่ Somaiya Centre for Buddhist Studies, University of Mumbai ประเทศอินเดีย

พ.ศ. ๒๕๕๒ กันยายน เสนอผลงานเรื่อง Ciita-nagaram lokassa rajadhani เป็นภาษาบาลีในการประชุมทางวิชาการ เนื่องในโอกาส งานเฉลิมฉลองพระชนมายุครบ ๙๖ พรรษาของ สมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก ที่มหาวิทยาลัย มหามกุฏราชวิทยาลัย


ศาสตราจารย์ ดร. พระคำหมาย ธัมมสามิ


For iPhone/iPad user: If you can't see all of this short bio's text, please use your two fingers to scroll inside this text area.

SHORT BIOGRAPHY   
Prof Sumanapala Galmangoda

Email Address : galman@sltnet.lk

Current Position : Senior Professor, Director, Postgraduate Institute of Pali and Buddhist Studies, University of Kelaniya, Sri Lanka

Education : BA (Hons.), MA, PhD., Royal Pandit

Buddhist Projects/Experiences :
3 Year Experience of conducting Buddhist Ayurvedic Counseling programme in Sri Lanka with the assistance of World Health Organization South East Asia Centre, 25 years experience of teaching Pali, Sanskrit, Buddhist Philosophy, Buddhist Culture, Buddhist Psychology in University level, 20 years experience as a supervisor in Buddhist studies leading to the degrees MA, MPhil and PhD, 3 year experience as the Head of the Department of Pali and Buddhist Studies, University of Kelaniya, 1 year experience as an acting director of the Ayurvedic Institute of the University of Kelaniya, 5 year experience as the director of the postgraduate institute of Pali and Buddhist studies, University of Kelaniya.


Prof Sumanapala Galmangoda


For iPhone/iPad user: If you can't see all of this short bio's text, please use your two fingers to scroll inside this text area.

SHORT BIOGRAPHY   

Dr Sarah Shaw

Name : Sarah Shaw

Email Address : sarah.shaw@orinst.ox.ac.uk

Current Position : Member of Oriental Institute and Wolfson College, Oxford University, Honorary Fellow Oxford Centre for Buddhist Studies, lecturer Oxford University Department for Continuing Education.

Education : Manchester University. BA Hons Greek and English Literature, 1976; PhD English Literature, 1983.

Buddhist Projects/Experiences :
Lecturer, author and writer on Buddhist subjects. Books include Buddhist Meditation: an Anthology of Text (Routledge 2006), Jätakas: Birth Stories of the Bodhisatta (Penguin Classic Series, Delhi, 2006) and Introduction to Buddhist Meditation (Routledge 2009).



Dr Sarah Shaw